ตำแหน่งวิชาการ : ศาสตราจารย์สาขาวิชานิเทศศาสตร์ (31 ก.ค. 61 – ปัจจุบัน)
ตําแหน่งงานปัจจุบัน :
– อาจารย์ประจําภาควิชานิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน (2545-ปัจจุบัน)
– ประธานคณะกรรมการดําเนินงานโครงการปริญญาโท สาขานิเทศศาสตร์และสารสนเทศ (ภาคพิเศษ) (2562-2564)
หน่วยงาน : ภาควิชานเทศศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เลขที่ 50 ถ.งามวงศ์วาน จตุจักร กรุงเทพ 10900
โทรศัพท์ : 063-515-1456 (มือถอื) / 02-579-5566 ต่อ 3102 (ที่ทํางาน)
E-mail : aj_nottakrit@hotmail.com
การศึกษา
– ศศ.บ. (สื่อสารมวลชน) (เกียรตินิยมอันดับหนึ่งเหรียญทอง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2544)
– บธ.ม. (การตลาด) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2546)
– นศ.ม. (การโฆษณา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2548)
– ศศ.ด. (ประชากรศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2552)
สาขาเชี่ยวชาญ
นิเทศศาสตร์, การสื่อสารการตลาด, การโฆษณา, การประชาสัมพันธ์,
พฤติกรรมผู้บริโภค, การตลาดเพื่อสังคม, และการสื่อสารสุขภาพ
ผลงานวิชาการ
Vantamay, N. (2019). “3S Project”: A Community-Based Social Marketing Campaign for Promoting Sustainable Consumption Behavior among Youth. Jurnal Komunikasi Malaysian Journal of Communication, 35 (4), 32-49.(อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS)
Vantamay, N. (2018). Investigation and recommendations on the promotion of sustainable consumption behavior among young consumers in Thailand.
Kasetsart Journal of Social Science, 39(1), 51-58. (อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS)
Vantamay, N. (2017). Validating the Effectiveness Indicators of Social Marketing Communication Campaigns for Reducing Health-risk Behaviors among Youth in Thailand. Jurnal Komunikasi Malaysian Journal of Communication, 33 (1), 127-146. (อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS)
Vantamay, N. (2015). Using the DELPHI TECHNIQUE to Develop Effectiveness Indicators for Social Marketing Communication to Reduce Health-risk
Behaviors among Youth. The Southeast Asian Journal of Tropical Medicine
and Public Health, 46(5), 949-957. (อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS และ ISI Web of
Science)
Vantamay, N. (2012). The Impacts of Alcohol Marketing Communications on Cognitive, Affective, and Behavioral Responses among Thai Youth in Bangkok.
International Journal of Business and Social Science, 3 (18), 286-295.
(ฐานข้อมูล EBSCO)
Vantamay, N. (2009). Alcohol Consumption among University Students: Applying a social Ecological Approach for Multi-level Preventions. The Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health. 40(2), 354-369. (อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS และ ISI Web of Science) (บทความวิจัยจากวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก)
Vantamay, N. (2021). The Effectiveness of Community-Based Social Marketing on Promoting Self-Protective Behaviors from PM2.5 among Thai Youths.The 4th National and International Research Conference 2021 (NIRC IV). Buriram, Thailand,7 January 2021.615-625.
Vantamay, N. (2020). Factors affecting Environmentally Sustainable Consumption Behavior (ESCB) among Thai Youth through the Theory of Planned Behavior.The 5th RSU International Research Conference on Science and Technology, Social Science, and Humanities 2020. Pathumthani, Thailand, 1 May 2020. 1257-1265.
Vantamay, N. (2019). Exploring the Professional Competencies for Marketing Communicators in the Next Decade (2017-2027). 2nd International Conference on Law, Business, Education, and Social Sciences (LBESS-2019). London, UK, 15-16 June, 2019.31-38.
Vantamay, N. (2017). Understanding of Socially Sustainable Consumption Behavior (SSCB) among Young Consumers: Empirical Evidence from Thai Market. The 2nd USM-International Conference on Social Sciences 2017. Penang, Malaysia, 24 August 2017.116-122.
นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2557). อิทธิพลของเครือข่ายการสื่อสารรณรงค์การตลาดเพื่อสังคมต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพของเยาวชนไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา , 1(2), 53-65. (วารสารอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2)
Vantamay, N. (2013). Evaluating brand equity in public health campaigns. วารสารมนุษยศาสตร์, 20 , Special Issue, 208-224. (วารสารอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 1) นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2555). การพัฒนาโมเดลสมการเชิงโครงสร้างการสื่อสารการตลาดเพื่อสังคมเพื่อลดพฤตกรรมเสี่ยงทางสุขภาพของเยาวชนไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 17(3),19-34. (วารสารอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2)
นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2553). ระเบียบวาระทางการสื่อสารการตลาดเพื่อสังคมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในประเทศไทย. วารสารสารมนุษยศาสตร์, 17 (1), ฉบับเดือนมกราคม –มิถุนายน, 159 -180. (วารสารอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)
Vantamay, N. (2009). Integrated Marketing Communications (IMC) of Advertisers in Thailand: Perception, Performances, and Measurement. วารสารนเทศศาสตร์ , 27 (4), 143-161. (วารสารอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)
นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2550). กลยุทธ์การจัดการภาพลักษณ์ประเทศแหล่งกําเนิดสินค้า, วารสารสงขลานครินทร์ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 13(2), 269-286. (วารสารอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2)
นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2550). การตลาดเพื่อสังคม: กลยุทธ์สําคัญเพื่อการพัฒนาประชากร. วารสารประชากรศาสตร์, 23(1), 49-65. (วารสารอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 2)
Vantamay, N. (2007). Impact of Ethical Perception in Advertising on Consumers’ Behavioral and Attitudinal Responses : Finding from Thai Consumer. วารสารนิเทศศาสตร์, 25 (3), 117-138. (วารสารอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 1)
Vantamay, N. (2007). Understanding of Perceived Product Quality : Reviews and Recommendations. BU ACADEMIC REVIEW, 6(1), 110-118. (วารสารอยู่ในฐานข้อมูลTCI กลุ่มที่ 1)
นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2549). แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน : ผลกระทบที่มีต่อวงการการศึกษา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย , 26 (2), 132-142. (วารสารอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)
นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2548). อิทธิพลของทัศนคติที่มีต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภค.วารสารมนุษยศาสตร์, 13, 1-10. (วารสารอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 1)
สิณากรณ์ศรีพุทธิรัตน์และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2564). อิทธิพลของการสื่อสารการตลาดเพื่อสังคมผ่านสื่อออนไลน์เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร ตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยรังสิต ประจําปี๒๕๖๔. วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2564. 288-298.
พิมานรัตน์วงศ์กาฬสินธุ์และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2564).อิทธิพลของการสื่อสารการตลาดออนไลน์ต่อทัศนคติบรรทัดฐานของกลุ่มอ้างอิง และความตั้งใจที่จะใช้บริการร้านตัดผมชายแบบเดลิเวอรี่ในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยรังสิต ประจําปี๒๕๖๔. วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2564. 299-312.
เจตน์กลิ่นบุปผาและนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2563).อิทธิพลของการสื่อสารการตลาดออนไลน์ต่อทัศนคติบรรทัดฐานของกลุ่มอ้างอิง และความตั้งใจที่จะศึกษากับสถาบันออนไลน์ของกลุ่มผู้บริโภควัยทํางานตอนต้นในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 5 และเครือข่ายวิจัยประชาชื่นครั้งที่ 5 โลกไร้พรมแดน: ทิศทางการศึกษาสุขภาวะ และนวัตกรรม จัดโดย วิทยาลัยครุศาสตร์ร่วมกับ สายงานวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์และเครือข่ายวิจัยประชาชื่น. วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2563. 298-310.
ชวิศา อุ่นยนต์และนธกฤต วนตั ๊ะเมล์. (2563).อิทธิพลของการสื่อสารการตลาดออนไลน์ทัศนคติและบรรทัดฐานของกลุ่มอ้างอิง ต่อความตั้งใจที่จะท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย ในกรุงเทพมหานคร.การ ประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 5 และเครือข่ายวิจัย ประชาชื่นครั้งที่ 5 โลกไร้พรมแดน: ทิศทางการศึกษา สุขภาวะ และนวัตกรรม จัดโดย
วิทยาลัยครุศาสตร์ร่วมกับ สายงานวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์และ
เครือข่ายวิจัยประชาชื่น. วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2563. 69-82.
ศุภดา แสนฉลาด และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2563).อิทธิพลของการสื่อสารทางการตลาดเพื่อสังคมผ่านสื่อออนไลน์เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการต่อต้านการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ของประชาชนในกรุงเทพมหานครตามแนวคิดทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน.การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่5 และเครือข่ายวิจัยประชาชื่นครั้งที่ 5 โลกไร้พรมแดน: ทศทางการศึกษา สุขภาวะ และนวัตกรรม จัดโดยวิทยาลัยครุศาสตร์ร่วมกับ สายงานวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์และเครือข่ายวิจัยประชาชื่น. วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2563. 672-690.
กานต์พิชชา ปิ่นบัณฑิตทรัพย์และนธกฤต วนตั ๊ะเมล์. (2563).อิทธิพลของการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานที่มตี่อการส่งเสริมการบริโภคผลิตภัณฑ์ธัญพืชเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคเพศหญิง.การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 5 และเครือข่ายวิจัยประชาชื่นครั้งที่ 5 โลกไร้พรมแดน: ทิศทางการศึกษา สุขภาวะ และนวัตกรรม จัดโดยวิทยาลัยครุศาสตร์ร่วมกับ สายงานวิจัย และพัฒนา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์และเครือข่ายวิจัย ประชาชื่น. วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2563. 619-630.
เจนจิรา สลาสเรเกนและนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2563).อิทธิพลของการสื่อสารการตลาดออนไลน์ผ่านไมโครอินฟลูเอนเซอร์ที่มีต่อทัศนคติและความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางของผู้บริโภควัยทํางานหญิงตอนต้น.การ ประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 5 และเครือข่ายวิจัยประชาชื่นครั้งที่ 5 โลกไร้พรมแดน: ทิศทางการศึกษาสุขภาวะ และนวัตกรรม จัดโดยวิทยาลัยครุศาสตร์ ร่วมกับ สายงานวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์และเครือข่ายวิจัยประชาชื่น. วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2563. 928-939.
พชรวรรณ แจ่มจันทร์และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2563).อิทธิพลของการวางผลิตภัณฑ์ในซีรีย์เกาหลีที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์ทัศนคติและความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภค. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 5 และเครือข่ายวิจัยประชาชื่นครั้งที่ 5 โลกไร้พรมแดน: ทิศทางการศึกษา สุขภาวะ และนวัตกรรม จัดโดยวิทยาลัยครุศาสตร์ร่วมกับ สายงานวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์และเครือข่ายวิจัยประชาชื่น. วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2563. 475-486.
ภัทราวดีเทพทอง และนธกฤตวันต๊ะเมล์. (2563).อิทธิพลการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานที่มีต่อการส่งเสริมพฤติกรรมการเข้าร่วมงานวิ่งมาราธอนของผู้บริโภคในพื้นที่กรงเทพมหานคร .การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 5 และเครือข่ายวิจัยประชาชื่นครั้งที่ 5 โลกไร้พรมแดน: ทิศทางการศึกษา สุขภาวะ และนวัตกรรม จัดโดยวิทยาลัยครุศาสตร์ร่วมกับ สายงานวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์และเครือข่ายวิจัยประชาชื่น. วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2563. 487-500.
กนิษฐ์นาถ สุขสวัสดิ์ชน และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2563).อิทธิพลของการสื่อสารการตลาดเพื่อสังคมผ่านสื่อออนไลน์ต่อพฤติกรรมการใช้ถุงผ้าในการซื้อสินค้าของผู้บริโภค.การประชุมวิชาการ ระดับชาติครั้งที่ 5 และเครือข่าย วิจัยประชาชื่นครั้งที่ 5 โลกไร้พรมแดน: ทิศทางการศึกษา สุขภาวะ และนวัตกรรม จัดโดยวิทยาลัยครุศาสตร์ ร่วมกับ สายงานวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์และเครือข่ายวิจัยประชาชื่น. วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2563. 551-563.
ไม้ไทย วงจิตรกร และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2562).อิทธิพลการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานที่มีต่อพฤติกรรมการเล่นกีฬาอิเล็กทรอนิกส์ (E-Sports) ของเยาวชนไทย.การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2019 ครั้งที่ 4. วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. 1061-1069.
พรภัทรา พรอภิญญากุลและนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2562).อิทธิพลของเครื่องมือสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน เพื่อส่งเสริมความตั้งใจใช้ระบบชําระเงินแบบ QR CODE ของผู้บริโภคในพื้นที่กรุงเทพมหานคร.การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2019 ครั้งที่ 4. วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. 1320-1328.
อนัส ปะลาวัน และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2562). ประสิทธิผลของการสื่อสารการตลาดเพื่อสังคมผ่านสื่อออนไลน์ที่มีต่อการรับรู้ทัศนคติและพฤติกรรมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร.การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยรังสิต ประจําปี 2562. วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2562. 1367-1376.
ฐิตินันท์ศศสิุวรรณ และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2562). อิทธิพลของการโฆษณาในเฟซบุ๊กแฟนเพจที่มีเนื้อหาทางด้านความรักต่อความตั้งใจซื้อของผู้บริโภค. การประชุมวิชาการและการนาเสนอ ผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 10 ของบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ร่วมกับ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติมหาวิทยาลัย ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา และมหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2562. 935-943.
ชลณัฐ เสาทองและนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2561). ประสิทธผลของเครื่องมือสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานที่มีต่อภาพลักษณ์และความภักดีต่อการท่องเที่ยวจังหวัดเลยของนักท่องเที่ยวกลุ่มคนโสด. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตกําแพงแสน ครั้งที่ 15. วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2561. 1336-1446.
ทนณัฐ เจือวานิช และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2561). การใช้ประโยชน์ของแอพพลิเคชั่นทีวีออนไลน์ของผู้บริโภควัยทํางานตอนปลายในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการระดับชาติเวทีวิจั มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ครั้งที่ 12 มหาวิทยาลัยบูรพา. วันที่ 8 มิถุนายน 2561.
ธิดารัตน์แก้วดวงตา และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2561). อิทธิพลของการสื่อสารการตลาดเพื่อสังคมผ่านสื่อออนไลน์ที่มีต่อทัศนคติต่อผู้สูงอายุของเยาวชนในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการระดับชาติเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ครั้งที่ 12 มหาวิทยาลัยบูรพา. วันที่ 8มิถุนายน 2561.
นภาพร พฤกษรณชัย และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2561). ความต้องการใช้ประโยชน์การเปิดรับ และความพึงพอใจในข้อมูลข่าวสารของผู้ใช้บริการรถแท็กซี่สาธารณะ.The 8th PIM National Conference.วันที่ 21 มิถุนายน 2561.
รัชณีกร ทองเส้ง และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2560). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างการเปิดรับการสื่อสารการตลาด ออนไลน์กับความตั้งใจซื้ออสังหาริมทรัพย์ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับชาติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 7. วันที่ 24 พฤศจิกายน 2560.
สิทธิชัย ธารพล และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2560). สมรรถนะอันพึงประสงค์ของนักนิเทศศาสตร์เพื่อเตรียมตัวเข้าสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ICMSIT 2017 : 4th International Conference on Management Science, Innovation, and Technology 2017 Faculty of Management Science SuanSunandha Rajabhat University, Bangkok, Thailand. วันที่ 16 มิถุนายน 2560.
ทัศน์กรณ์อมรวรพักตร์และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2560). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างการเปิดรับการตลาดเชิงกิจกรรมกับการตอบสนองทางการตลาดในผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางวิสาหกิจชุมชนของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการระดับชาติปัญญาภิวัฒน์ครั้งที่ 7 สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์. วันที่ 2 มิถุนายน 2560.
ดวงรัตน์รัตนพงษ์และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2560). การเสริมสร้างความเข้มแข็งคุณค่าตราสินค้าของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.). การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 12 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. วันที่ 3 มีนาคม 2560.
อมรรัตน์เชาว์ไว และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2560). อิทธิพลของการเปิดรับสารรณรงค์การสื่อสาร การตลาดเพื่อสังคมจากสื่อออนไลน์ต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของเยาวชนชายในระดับอุดมศึกษา. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 12 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. วันที่ 3 มีนาคม 2560.
สิริสุดา สุยะลา และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2560). อิทธิพลของการรณรงค์การสื่อสารการตลาดเพื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อพฤติกรรมการออมเงินยามเกษียณของผู้บริโภควัยทํางานในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการระดบชาต ั ิครั้งที่ 12 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. วันที่ 3 มีนาคม 2560.
ปิยนุช รักสัตย์กัญจรัศม์ ตั้งพงษาพันธุ์วรัตถา สายโอภาส และ นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2560).ความต้องการใช้ประโยชน์และพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารด้านสุขภาพจิตผ่านสื่อออนไลน์ของวัยก่อนเกษียณในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน ครั้งที่ 14. วันที่ 8 ธันวาคม 2560. 1575-1586.
พัดชา หวังใจสุข ภัทรดา แสงหงษา สาครินทร์ยี่สาคร และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2560).พฤติกรรมการสื่อสารภายในกลุ่มเพื่อนผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของผู้เกษียณอายุในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตกําแพงแสน ครั้งที่ 14. วันที่ 8 ธันวาคม 2560. 1575-1586.
สุวรีย์พิมพาภัย และ นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2559). ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพผ่านสื่อออนไลน์ของกลุ่มวัยทํางานในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ร่วมกับ เครือข่ายวิจัยประชาชื่น “พหุวัฒนธรรม : โอกาสและความท้าทาย” วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม 2559 ณ ห้อง ประชุม 1-1 ชั้น 1 มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตย์. 481-494.
ปวัน สุคมธมัต และ นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2559). พฤติกรรมการเปิดรับสื่อ การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจของแรงงานต่างด้าวในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกับ เครือข่ายวิจัยประชาชื่น “พหุวัฒนธรรม : โอกาส และความท้าทาย” วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม 2559 ณ ห้องประชุม 1-1 ชั้น 1 มหาวิทยาลัย
ธุรกิจบัณฑิตย์. 826-840.
เชษฐา ต้อยเหม และ นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2559). อิทธิพลของการสื่อสารการตลาดผ่าน โทรศัพท์มือถือที่มีต่อพฤติกรรมการชมภาพยนตร์ไทยของผู้บริโภคในกรงเทพมหานคร ุ . การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ร่วมกับ เครือข่ายวิจัยประชาชื่น “พหุวัฒนธรรม : โอกาสและความท้าทาย” วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม 2559 ณ ห้องประชุม 1-1 ชั้น 1 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. 990-1003.
กัลญา กนกวิมาน และ นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2559). รูปแบบการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกลุ่มเบบี้บูมเมอร์สใกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ร่วมกับ เครือข่ายวิจัยประชาชื่น “พหุวัฒนธรรม : โอกาสและความท้าทาย” วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม 2559 ณ ห้อง ประชุม 1-1 ชั้น 1 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. 919-932.
พลอยไพลิน เนียมเนตร และนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2558). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างการรับรู้ ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรกับทัศนคติและความตั้งใจสนับสนุนธุรกิจน้ํามันของผู้บริโภคในกรงเทพมหานคร ุ . การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 53 วันที่ 3 – 6 กุมภาพันธ์ 2558. 810-816.
เฉลิมพงศ์ขาวค้างพลูและนธกฤต วันต๊ะเมล์. (2558). ผลกระทบของการสื่อสารการตลาด
ออนไลน์ของธุรกิจยาสูบที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคยาสูบของนักศึกษาชายใน
กรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งท 53 ี่ วันที่ 3 – 6
กุมภาพันธ์ 2558. 794-801.
นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2561). การตลาดเพื่อความยั่งยืน. กรงเทพมหานคร ุ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2557). การสื่อสารการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2555). การสื่อสารการตลาด. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2554). หลักการโฆษณา. กรุงเทพฯ : สํานกพั ิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.